วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

41.แนวข้อสอบครู เรื่องเจตคติ การทำงาน วินัย


เจตคติต่อวิชาชีพ
เจตคติเป็นความรู้สึกหรือศรัทธาต่อสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนอาจส่งผลให้เกิดการกระทำและการแสดงออกเป็น พฤติกรรม
ต่าง ๆ ความเข้าใจต่อเจตคติของบุคคลจึงอาจใช้เป็นข้อมูลในการทำนายพฤติกรรมที่บุคคลจะแสดงออกและช่วยให้สา
มารถหาแนวทางป้องกัน แก้ไขได้ด้วยเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพ เป็นความรู้สึกเห็นด้วย ชอบ พอใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ใน
วิชาชีพของตนเองเจตคติที่ดีต่อวิชาชีพครูอาจครอบคลุมถึงความรู้สึกหรือมีศรัทธาต่องานการสอนและกิจกรรมที่ทำ
เช่น งานและโครงการที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ การ
ประเมินเจตคติทำจากการประเมินผลการปฏิบัติจริง ผลงาน หลักฐาน หรือร่องรอยที่รวบไว้ รวมทั้งการประเมินโดยใช้
เครื่องมือหรือแบบประเมินวัดเจตคติ


****************************************************************


2
การทำงานเป็นทีม

การดำเนินงานเพื่อให้ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนบรรลุผลสำเร็จและเป็นไปอย่างยั่งยืน จำเป็นต้องใช้ยุทธวิธีการทำงานร่วมกันเป็นทีมของบุคลากรในสถานศึกษาและนอกสถานศึกษาตลอดจนหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการผลักดันและบูรณาการการทำงานเข้าสู่ระบบและพัฒนาบุคลากร สนับสนุนปัจจัยเอื้อต่อการดำเนินงาน ติดตาม ประเมินผล พร้อมทั้งสร้างขวัญและกำลังใจให้แก่ผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้เกิดความร่วมแรงร่วมใจ ร่วมคิดและร่วมทำไปพร้อมๆ กัน ตลอดจนแสวงหาแนวทางในการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองและชุมชน (กรมสุขภาพจิต, 2547 ก : 1)
ในการทำงานเป็นทีมเพื่อดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ได้รับการพัฒนาอย่าง มีคุณภาพนั้น ประกอบด้วย 3 ทีม ดังนี้ (กรมสุขภาพจิต, 2544 :45)
1)
ทีมนำ
ได้แก่คณะผู้บริหารสถานศึกษาและคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งจะเป็นผู้วิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน จัดทำแผนกลยุทธ์ ควบคุม กำกับ ติดตามและสนับสนุน เสริมสร้างพลังร่วม (Empowerment) เพื่อให้การดำเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
2)
ทีมสนับสนุน
เป็นทีมหลักในการสนับสนุนประสานงานด้านวิชาการและอื่นๆ ให้เกิดการสร้างระบบคุณภาพขึ้น ทีมสนับสนุนจะเป็นใครขึ้นอยู่กับการพัฒนาระบบว่าจะมีจุดเน้นที่ระบบใด เช่น ทีมสนับสนุนของระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน หัวหน้าทีมคือ รองผู้อำนวยการสถานศึกษาที่ได้รับมอบหมาย (กรมสามัญศึกษา, 2544 : 7http://www.212cafe.com/freewebboard/image/icon_cool.gif
3)
ทีมทำ
เป็นทีมที่สมาชิกรับผิดชอบการทำงานโดยตรง เช่น ระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน คือ ทีมระดับชั้น ครูประจำชั้น/ครูที่ปรึกษาจะเป็นผู้มีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนากิจกรรมต่างๆ ให้มีคุณภาพ

3
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

การแลกเปลี่ยนเรียนรู้จะทำให้ได้รับทราบจุดแข็งจุดอ่อนในการดำเนินงานของตน เพื่อให้เกิดแนวทางที่จะพัฒนาให้มีคุณภาพสูงขึ้น การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทำได้ทั้งภายในโรงเรียน ระหว่างโรงเรียนและนอกโรงเรียน โดยมีบรรยากาศการทำงานที่เป็นกันเอง ไม่ใช้การสั่งการหรือบังคับบัญชา ทำให้ผู้ปฏิบัติงานในแต่ละส่วนเกิดความรู้สึกที่ดี ไม่ต้องกังวลเรื่องการประเมินตรวจสอบจากผู้บังคับบัญชา



******************************************************************




หมวด
วินัยและการรักษาวินัย

มาตรา ๘๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาวินัยที่บัญญัติเป็นข้อห้ามและ ข้อปฏิบัติไว้ในหมวดนี้โดยเคร่งครัดอยู่เสมอ
มาตรา ๘๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องสนับสนุนการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยด้วยความบริสุทธิ์ใจและมีหน้าที่วางรากฐานให้เกิดระบอบการปกครองเช่นว่านั้น
มาตรา ๘๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการด้วยความซื่อสัตย์สุจริต เสมอภาคและเที่ยงธรรม มีความวิริยะ อุตสาหะ ขยันหมั่นเพียร ดูแลเอาใจใส่ รักษาประโยชน์ของทางราชการ และต้องปฏิบัติตนตามมาตรฐานและจรรยาบรรณวิชาชีพอย่างเคร่งครัด
ห้ามมิให้อาศัยหรือยอมให้ผู้อื่นอาศัยอำนาจและหน้าที่ราชการของตน ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม หาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น
การปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยมิชอบ เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับประโยชน์ที่มิควรได้ เป็นการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ เป็นความผิดวินัยอย่างร้างแรง
มาตรา ๘๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่ราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรี หรือนโยบายของรัฐบาลโดยถือประโยชน์สูงสุดของผู้เรียน และไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ทางราชการ
การปฏิบัติหน้าที่ราชการโดยจงใจไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบแบบแผนของทางราชการและหน่วยงานการศึกษา มติคณะรัฐมนตรีหรือนโยบายของรัฐบาล ประมาทเลินเล่อหรือขาดการเอาใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๘๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชาซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ โดยไม่ขัดขืนหรือหลีกเลี่ยงแต่ถ้าเห็นว่าการปฏิบัติตามคำสั่งนั้นจะทำให้เสียหายแก่ราชการ หรือจะเป็นการไม่รักษาประโยชน์ของทางราชการจะเสนอความเห็นเป็นหนังสือภายในเจ็ดวัน เพื่อให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคำสั่งนั้นก็ได้และเมื่อเสนอความเห็นแล้ว ถ้าผู้บังคับบัญชายืนยันเป็นหนังสือให้ปฏิบัติตามคำสั่งเดิม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาจะต้องปฏิบัติตาม
การขัดคำสั่งหรือหลีกเลี่ยงไม่ปฏิบัติตามคำสั่งของผู้บังคับบัญชา ซึ่งสั่งในหน้าที่ราชการโดยชอบด้วยกฎหมายและระเบียบของทางราชการ อันเป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๘๗ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องตรงต่อเวลา อุทิศเวลาของตนให้แก่ทางราชการและผู้เรียน จะละทิ้งหรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควรมิได้
การละทิ้งหน้าที่หรือทอดทิ้งหน้าที่ราชการโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง หรือการละทิ้งหน้าที่ราชการติดต่อในคราวเดียวกันเป็นเวลาเกินกว่าสิบห้าวัน โดยไม่มีเหตุผลอันสมควรหรือโดยมีพฤติการณ์อันแสดงถึงความจงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบของทางราชการเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
- 2 -

มาตรา ๘๘ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องประพฤติเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน ชุมชน สังคม มีความสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือเกื้อกูลต่อผู้เรียนและระหว่างข้าราชการด้วยกันหรือผู้ร่วมปฏิบัติราชการ ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เรียนและประชาชนผู้มาติดต่อราชการ
การกลั่นแกล้ง ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ หรือข่มเหงผู้เรียน หรือประชาชนผู้มาติดต่อราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๘๙ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กลั่นแกล้ง กล่าวหาหรือร้องเรียนผู้อื่นโดยปราศจากความเป็นจริง
การกระทำตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นเหตุให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายอย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๙๐ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่กระทำการหรือยอมให้ผู้อื่นกระทำการหาประโยชน์อันอาจทำให้เสื่อมเสียความเที่ยงธรรมหรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ในตำแหน่งหน้าที่ราชการของตน
การกระทำตามวรรคหนึ่ง ถ้าเป็นการกระทำโดยมีความมุ่งหมายจะให้เป็นการซื้อขาย หรือให้ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งหรือวิทยฐานะใดโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย หรือเป็นการกระทำอันมีลักษณะเป็นการให้ หรือได้มาซึ่งทรัพย์สินหรือสิทธิประโยชน์อื่น เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้รับการบรรจุและแต่งตั้งโดยมิชอบหรือเสื่อมเสียความเที่ยงธรรม เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๙๑ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่คัดลอกหรือลอกเลียนผลงานทางวิชาการของผู้อื่นโดยมิชอบ หรือนำเอาผลงานทางวิชาการของผู้อื่น หรือจ้าง วาน ใช้ผู้อื่นทำผลงานทางวิชาการเพื่อไปใช้ในการเสนอขอปรับปรุงการกำหนดตำแหน่ง การเลื่อนตำแหน่ง การเลื่อนวิทยฐานะหรือการให้ได้รับเงินเดือนในระดับที่สูงขึ้น การฝ่าฝืนหลักการดังกล่าวนี้ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ร่วมดำเนินการคัดลอกหรือลอกเลียนผลงานของผู้อื่นโดยมิชอบ หรือรับจัดทำผลงานทางวิชาการไม่ว่าจะมีค่าตอบแทนหรือไม่ เพื่อให้ผู้อื่นนำผลงานนั้นไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินการตามวรรคหนึ่ง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๙๒ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ หรือดำรงตำแหน่งอื่นใดที่มีลักษณะงานคล้ายคลึงกันนั้นในห้างหุ้นส่วนหรือบริษัท
มาตรา ๙๓ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องวางตนเป็นกลางทางการเมืองในการปฏิบัติหน้าที่ และในการปฏิบัติการอื่นที่เกี่ยวข้องกับประชาชน โดยต้องไม่อาศัยอำนาจและหน้าที่ราชการของตนแสดงการฝักใฝ่ ส่งเสริม เกื้อกูล สนับสนุนบุคคล กลุ่มบุคคล หรือพรรคการเมืองใด
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องไม่เข้าไปเกี่ยวข้องกับการดำเนินการใดๆ อันมีลักษณะเป็นการทุจริตโดยการซื้อสิทธิหรือขายเสียงในการเลือกตั้งสมาชิกรัฐสภา สมาชิกสภาท้องถิ่นผู้บริหารท้องถิ่น หรือการเลือกตั้งอื่นที่มีลักษณะเป็นการส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยรวมทั้งจะต้องไม่ให้การส่งเสริม สนับสนุน หรือชักจูงให้ผู้อื่นกระทำการในลักษณะเดียวกัน การดำเนินการที่ฝ่าฝืนหลักการดังกล่าวนี้ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
- 3 -

มาตรา ๙๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาต้องรักษาชื่อเสียงของตนและรักษาเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย โดยไม่กระทำการใดๆ อันได้ชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่ว
การกระทำความผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุก หรือโทษที่หนักกว่าจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุดให้จำคุกหรือให้รับโทษที่หนักกว่าจำคุก เว้นแต่เป็นโทษสำหรับความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ หรือกระทำการอื่นใดอันใดชื่อว่าเป็นผู้ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่เสพยาเสพติดหรือสนับสนุนให้ผู้อื่นเสพยาเสพติด เล่นการพนันเป็นอาจิณ หรือกระทำการล่วงละเมิดทางเพศต่อผู้เรียนหรือนักศึกษา ไม่ว่าจะอยู่ในความดูแลรับผิดชอบของตนหรือไม่ เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง
มาตรา ๙๕ ให้ผู้บังคับบัญชามีหน้าที่เสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัย และดำเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย
การเสริมสร้างและพัฒนาให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีวินัย ให้กระทำโดยการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี การฝึกอบรม การสร้างขวัญและกำลังใจ การจูงใจ หรือการอื่นใดในอันที่จะเสริมสร้างและพัฒนาเจตคติ จิตสำนึก และพฤติกรรมของผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาให้เป็นไปในทางที่มีวินัย
การป้องกันมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชากระทำผิดวินัยให้กระทำโดยการเอาใจใส่ สังเกตการณ์และขจัดเหตุที่อาจก่อให้เกิดการกระทำผิดวินัย ในเรื่องอันอยู่ในวิสัยที่จะดำเนินการป้องกันตามควรแก่กรณีได้
เมื่อปรากฏกรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดกระทำผิดวินัยโดยมีพยานหลักฐานในเบื้องต้นอยู่แล้ว ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการทางวินัยทันที
เมื่อมีการกล่าวหาโดยปรากฏตัวผู้กล่าวหาหรือกรณีเป็นที่สงสัยว่าข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดกระทำผิดวินัยโดยยังไม่มีพยานหลักฐาน ให้ผู้บังคับบัญชารีบดำเนินการสืบสวนหรือพิจารณาในเบื้องต้นว่ากรณีมีมูลที่ควรกล่าวหาว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัยหรือไม่ ถ้าเห็นว่ากรณีไม่มีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยจึงจะยุติเรื่องได้ ถ้าเห็นว่ากรณีมีมูล ที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยก็ให้ดำเนินการทางวินัยทันที
การดำเนินการทางวินัยแก่ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาซึ่งมีกรณีอันมีมูลที่ควรกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัยให้ดำเนินการตามที่บัญญัติไว้ในหมวด
ผู้บังคับบัญชาผู้ใดละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามมาตรานี้และตามหมวด ๗ หรือมีพฤติกรรมปกป้อง ช่วยเหลือเพื่อมิให้ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาถูกลงโทษทางวินัย หรือปฏิบัติหน้าที่ดังกล่าวโดยไม่สุจริตให้ถือว่าผู้นั้นกระทำผิดวินัย
มาตรา ๙๖ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้ใดฝ่าฝืนข้อห้ามหรือไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติทางวินัยตามที่บัญญัติไว้ในหมวดนี้ ผู้นั้นเป็นผู้กระทำผิดวินัย จักต้องได้รับโทษทางวินัยเว้นแต่มีเหตุอันควรงดโทษตามที่บัญญัติไว้ในหมวด


- 4 -

โทษทางวินัยมี ๕ สถาน คือ
(
๑) ภาคทัณฑ์
(
๒) ตัดเงินเดือน
(
๓) ลดขั้นเงินเดือน
(
๔) ปลดออก
(
๕) ไล่ออก
ผู้ใดถูกลงโทษปลดออก ให้ผู้นั้นมีสิทธิได้รับบำเหน็จบำนาญเสมือนว่าเป็นผู้ลาออกจากราชการ
มาตรา ๙๗ การลงโทษข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ทำเป็นคำสั่ง วิธีการออกคำสั่งเกี่ยวกับการลงโทษให้เป็นไปตามระเบียบของ ก.ค.ศ. ผู้สั่งลงโทษต้องสั่งลงโทษให้เหมาะสมกับความผิดและมิให้เป็นไปโดยพยาบาท โดยอคติหรือโดยโทสะจริต หรือลงโทษผู้ที่ไม่มีความผิด ในคำสั่งลงโทษให้แสดงว่าผู้ถูกลงโทษกระทำผิดวินัยในกรณีใด ตามมาตราใด และมีเหตุผลอย่างใดในการกำหนดสถานโทษเช่นนั้น




******************************************************************



พระบรมราโชวาท


ผู้ที่เป็นครูอาจารย์นั้น ใช่แต่ว่ามีความรู้ ทางวิชาการ และในทางการสอนเท่านั้นก็หาไม่ จะต้องรู้จักอบรมเด็กทั้งในด้านศีลธรรม จรรยา และวัฒนธรรม รวมทั้งให้มีสำนึกรับผิดชอบในหน้าที่ และในฐานะเป็นพลเมืองที่ดีของชาติต่อไปข้างหน้า การให้ความรู้ หรือที่เรียกว่าการสอนนั้น ต่างกับการอบรม การสอนคือ การให้ความรู้แก่นักเรียน ส่วนการอบรมเป็นการฝึกจิตใจของผู้เรียนให้ซึมซาบจนติดเป็นนิสัย
ขอให้ท่านทั้งหลายจงอย่าสอนแต่อย่างเดียว
ให้อบรมความรู้ดังกล่าวด้วย...



จรรยาบรรณครู
๑. ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือส่งเสริม และ ให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
๒. ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝนและสร้างเสริมความรู้ ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงาม ให้เกิดแก่ศิษย์อย่างเต็มความสามารถ และด้วยความ บริสุทธิ์ใจ
๓. ครูต้องประพฤติและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
๔. ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์
๕. ครูต้องไม่แสวงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ จ้าง วานให้ศิษย์กระทำการใด ๆ อันเป็นการ หาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
๖. ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยากร เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
๗. ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร วิชาชีพครู
๘. ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
๙. ครูพึงประพฤติและปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์ และพัฒนา ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

จรรยาบรรณของวิชาชีพครู
๑. ครูต้องประพฤติตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ และแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
๒. ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒนาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพ และวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมืองอยู่เสมอ
๓. ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
๔. ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
๕. ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
๖. ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์ หรือผู้รับบริการ
๗. ครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตำแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
๘. ครูต้องช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
๙. ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
คุณธรรม จริยธรรมของครู
จริยธรรมเป้าหมายทั้งหมดมี 20 ประการ คือ
๑. ครูต้องมีความขยันหมั่นเพียร ๑๑. ครูต้องมีสัจจะและแสดงความจริงใจ
๒. ครูต้องมีวินัยในตนเอง ๑๒. ครูต้องมีความเมตตากรุณา
๓. ครูต้องรู้จักปรับปรุงตนเอง ๑๓. ครูต้องมีความอดทน อดกลั้น
๔. ครูต้องให้ความช่วยเหลือผู้อื่น ๑๔. ครูต้องมีความซื่อสัตย์
๕. ครูต้องบำเพ็ญประโยชน์เพื่อชุมชน ๑๕. ครูต้องมีระเบียบวินัยและตรงต่อเวลา
๖. ครูต้องเสียสละเพื่อสาธารณประโยชน์ ๑๖. ครูต้องมีการให้อภัย
๗. ครูต้องรู้จักเห็นอกเห็นใจผู้อื่น ๑๗. ครูต้องประหยัดและอดออม
๘. ครูต้องมีความกตัญญูกตเวที ๑๘. ครูต้องเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
๙. ครูต้องไม่ประมาท ๑๙. ครูต้องมีความรับผิดชอบ
๑๐. ครูต้องปฏิบัติต่อผู้อาวุโสในทางที่ดี ๒๐. ครูต้องจงรักภักดีต่อชาติ ศาสนาและ
พระมหากษัตริย์
คุณธรรมขั้นพื้นฐานสำหรับนักเรียน นักศึกษา ของกระทรวงศึกษาธิการ
มี ๘ ประการ ประกอบด้วย
๑. มีวินัย
๒. มีน้ำใจ
๓. ซื่อสัตย์
๔. ขยัน
๕. ประหยัด
๖. สุภาพ
๗. สะอาด
๘. สามัคคี
คุณลักษณะสำคัญอีก ๓ ประการ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
๑. ความพอประมาณ
๒. มีเหตุผล
๓. มีภูมิคุ้มกันความเสี่ยง
รวมเป็นคุณธรรม ๑๑ ประการ


ค่านิยมสร้างสรรค์ของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
ค่านิยมสร้างสรรค์ฯ เป็นคุณธรรมประจำใจที่จัดทำขึ้นให้เจ้าหน้าที่ของรัฐพึงยึดถือ เพื่อสร้างวัฒนธรรมการทำงานใหม่ ให้งานภาครัฐบังเกิดผลตามแนวทางของแผนปฏิรูประบบบริหารภาครัฐที่มุ่งสร้างคุณประโยชน์สูงสุด ให้แก่ประชาชนและประเทศชาติ มี ๕ ประการ ดังนี้
๑. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง
๒. ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ
๓. โปร่งใส ตรวจสอบได้
๔. ไม่เลือกปฏิบัติ
๕. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน
๑. กล้ายืนหยัดทำในสิ่งที่ถูกต้อง (Moral Courage) หมายถึง
v ยึดมั่นในความถูกต้องดีงาม
 เสียสละv
 ยึดหลักวิชาและจรรยาวิชาชีพv
v ไม่โอนอ่อนตามอิทธิพลใด ๆ
ซึ่งอาจขยายความได้ว่า เป็นพฤติกรรมการทำงานในลักษณะ ดังต่อไปนี้
 การปฏิบัติหน้าที่ให้ถูกต้อง ชอบธรรม ไม่ทำผิดระเบียบ กฎหvมาย แม้ผู้บังคับบัญชาจะสั่งให้ทำในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง ก็กล้าที่จะคัดค้านตามกระบวนการ
 กล้าแจ้งเหตุ หรือร้องเรียนv เมื่อพบเห็นการกระทำผิด แม้ผู้กระทำผิดจะเป็น เพื่อนร่วมงาน หรือผู้บังคับบัญชาในหน่วยงานตนเอง
 ให้รางวัลแก่ผู้ปฏิบัติดีv และกล้าลงโทษผู้กระทำผิด
 พร้อมที่จะเสียสละและทุ่มเทกำลังกายv กำลังปัญญาทรัพย์สิน และเวลาให้แก่งาน
 ปฏิบัติงานตามหลักวิชา ตามหลักการv และจรรยาบรรณ โดยไม่ประนีประนอม กับความเลว ไม่หวั่นเกรงต่อการข่มขู่หรืออิทธิพลใด
 มีความอดทนหรือยับยั้งชั่งใจต่อผลประโยชน์ที่เย้ายวนv โดยคำนึงถึงเกียรติ์และศักดิ์ศรี

๒. ซื่อสัตย์และมีความรับผิดชอบ (Integrity and Responsibility) หมายถึง
 ปฏิบัติหน้าที่อย่างตรงไปตรงมาv
v แยกเรื่องส่วนตัวออกจากหน้าที่การงาน
 มีความรับผิดชอบต่อประชาชนv ต่อผลการปฏิบัติงานองค์การ และต่อการพัฒนาปรับปรุงระบบราชการ
ซึ่งอาจขยายความได้ว่า เป็นพฤติกรรมการทำงานในลักษณะ ดังต่อไปนี้
 การมีความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่v เพื่อประโยชน์แก่ส่วนรวม โดยไม่คดโกง ไม่หลอกลวง
v มีความตรงต่อเวลาทั้งการมาปฏิบัติหน้าที่และการนัดหมายไม่ให้ประชาชน หรือผู้ที่ตนนัดหมายต้องรอคอย
v การไม่เอาประโยชน์ส่วนตนมาทำให้ประโยชน์ส่วนรวมต้องเสียไป
v การหลีกเลี่ยงไม่เข้าไปอยู่ในสถานการณ์ที่ตนจะได้ประโยชน์จากการปฏิบัติหน้าที่
v การไม่ใช้ความสนิทสนมกันเป็นส่วนตัว ปูนบำเหน็จพิเศษแก่ผู้ใต้บังคับบัญชา
v การมีจิตสำนึกต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็มความสามารถ โดยคำนึงถึงประโยชน์ของทางราชการและประชาชน และพร้อมที่จะรับผิด เมื่อทำงานผิดพลาด และยินดีแก้ไข

๓. โปร่งใส ตรวจสอบได้ (Transparency and Accountability) หมายถึง
 ปรับปรุงกลไกการทำงานขององค์การให้มีความโปร่งใสv
v มีวิธีการให้ประชาชนตรวจสอบได้
v เปิดเผยข้อมูลข่าวสารภายในขอบเขตของกฎหมาย
ซึ่งอาจขยายความได้ว่า เป็นพฤติกรรมการทำงานในลักษณะ ดังต่อไปนี้
 การมีขั้นตอนการปฏิบัติงานv แผนการทำงาน และการมอบหมายงานที่ชัดเจน โดยสามารถแจ้งลำดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน ผู้ปฏิบัติงาน และระยะเวลา ให้ผู้ติดต่อได้ทราบเพื่อสามารถติดตามความรับผิดชอบได้
v เก็บหลักฐานทุกอย่างไว้หรือทำเป็นบันทึกไว้ เพื่อง่ายแก่การตรวจสอบ
v การตั้งคณะทำงาน หรือคณะกรรมการจะทำให้เกิดการตรวจสอบกันเองได้ดี
v การให้คำอธิบาย ให้เหตุผลที่เหมาะสมแก่ผู้มาขอรับบริการ กรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติหรืออนุญาตตามคำขอได้
 การเปิดเผยหลักเกณฑ์v และวิธีการในการปฏิบัติงานหรือข้อมูลการปฏิบัติงานให้แก่ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบตามสมควรแก่กรณี โดยถือว่าการเปิดเผยเป็นหลักการ การปกปิดเป็นข้อยกเว้น

๔. ไม่เลือกปฏิบัติ (Nondiscrimination) หมายถึง
 บริการประชาชนด้วยความเสมอภาค เน้นความสะดวกv รวดเร็ว ประหยัด และถูกต้อง
 ปฏิบัติต่อผู้มารับบริการด้วยความมีน้ำใจ เมตตาv เอื้อเฟื้อ
ซึ่งอาจขยายความได้ว่า เป็นพฤติกรรมการทำงานในลักษณะ ดังต่อไปนี้
 การให้บริการโดยเน้นความเสมอภาคเท่าเทียมกันv
v ให้บริการตามลำดับโดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติหรือเครือญาติ เพื่อความเสมอภาค เป็นธรรม ผู้ที่มาก่อนจะได้รับบริการก่อน
v อำนวยความสะดวกแก่ผู้มารับบริการในมาตรฐานเดียวกัน ไม่บริการพิเศษเฉพาะรายที่รู้จักมักคุ้น
 ให้บริการด้วยความรวดเร็ว ทั่วถึงv ปราศจากอคติ
 ให้บริการด้วยความเต็มใจ ยิ้มแย้ม แจ่มใส รักษาประโยชน์v ให้แก่ผู้รับบริการ ทุกคนเท่าที่จะทำได้
 กรณีมีเหตุจำเป็นv หากต้องเลือกที่จะบริการแก่ประชาชนผู้อยู่ห่างและเดินทางลำบาก ก็ต้องอธิบายความจำเป็นให้แก่ผู้รับบริการคนอื่น ๆ ที่รออยู่รับทราบ ทั่วกัน

๕. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน (Result Orientation) หมายถึง
v ทำงานให้แล้วเสร็จตามกำหนด เกิดผลดีต่อหน่วยงานและส่วนรวม
v ใช้ทรัพยากรของทางราชการให้คุ้มค่าเสมือนหนึ่งการใช้ทรัพยากรของตนเอง
v เน้นการทำงาน โดยยึดผลลัพธ์เป็นหลัก มีการวัดผลลัพธ์ และค่าใช้จ่าย

ซึ่งอาจขยายความได้ว่า เป็นพฤติกรรมการทำงานในลักษณะ ดังต่อไปนี้
 การปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้แล้วเสร็จตามกำหนดv โดยได้ผลลัพธ์ตามเป้าหมาย และคุ้มค่า ทั้งในส่วนของการใช้เงิน และใช้เวลา
v ประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เกิดความเข้าใจในเป้าหมายและเนื้อหาสาระของงานที่ตรงกัน
v ปฏิบัติงานด้วยความรอบคอบไม่ประมาท รักษาผลประโยชน์ให้แก่หน่วยงานอย่างเต็มความสามารถ คำนึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด มีประสิทธิภาพประสิทธิผล
v การปฏิบัติงานโดยไม่ยึดติดอยู่กับกฎ ระเบียบที่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน แต่ มุ่งเป้าหมายขององค์การ โดยมีตัวชี้วัดที่เป็นรูปธรรมว่าการทำงานนั้น ๆ บรรลุเป้าหมายหรือไม่ มีการติดตามผลเป็นระยะ ๆ




ช่องว่างทางความมั่งคั่งระหว่างมนุษย์ในโลกปัจจุบัน
ค่าใช้จ่าย จำนวนเงิน
(US$ billion)
จำนวนคน
(
ล้านคน)
การศึกษาสำหรับทุกคนในโลก 6 ไม่รู้หนังสือ 850
เครื่องสำอางในสหรัฐ 8
น้ำสะอาดและสาธารณูปโภค
สำหรับทุกคน 9 ขาดแคลนสาธารณูปโภค
พื้นฐาน 2,600/
ตายเพราะอากาศเสีย 3/
ตายเพราะน้ำไม่สะอาด
เกิดโรคเกี่ยวกับทางเดิน
อาหาร 5
ไอศกรีมในยุโรป 11
สุขภาพด้านภาวะเจริญพันธุ์ 12
น้ำหอมในยุโรปและสหรัฐฯ 12
สุขภาพพื้นฐานและโภชนาการ 13 ขาดบริการสาธารณสุข
พื้นฐาน 880/
ขาดอาหาร 840
(
เป็นเด็ก 160)
อาหารสัตว์ในยุโรปและสหรัฐฯ 17
ค่ารับรองทางธุรกิจในญี่ปุ่น 35
บุหรี่ในยุโรป 50
น้ำเมาในยุโรป 105
ยาเสพติดในโลก 400
ค่าใช้จ่ายทางทหารในโลก 780
Human Development Report (199http://www.212cafe.com/freewebboard/image/icon_cool.gif cited in Majid Tehranian, “Global Terrorism: Searching for Appropriate Responses,” Pacifica Review. Vol.14 No.1
(February 2002), p’60.
ข้าพเจ้านำตัวเลขจำนวนคนเหล่านี้มาจากดุลบัญชีการพัฒนามนุษย์ 1990-1997 ใน UNDP, Human Development Report 1999. (New York: Oxford University Press, 1999), p.22.
ความคิดไม่มีวันหมด
(LONG ON IDEAS)
นิตยสารไลฟ์ยกย่องให้เขาผู้นี้เป็นบุคคลยอดเยี่ยมอันดับหนึ่งแห่งสหัสวรรษ ประดิษฐกรรม อันน่าทึ่งของเขามีมากมายถึง 1,093 ชิ้น เขาได้รับสิทธิบัตรรับรองผลงานมากกว่าใคร ๆ ในโลก หรือเฉลี่ยแล้วตกปีละ 1 ใบ เป็นระยะเวลา 65 ปีติดต่อกัน ชื่อของเขาคือ โทมัส เอดิสัน
คนส่วนใหญ่ยกย่องเอดิสันว่าเป็นอัจฉริยะสร้างสรรค์ แต่เขากลับบอกว่าความอัจฉริยะ เป็น ผลพวงที่เกิดจากการทำงานหนัก โดย 99 เปอร์เซ็นต์เกิดจากหยาดเหงื่อแรงงาน และอีกหนึ่งเปอร์เซ็นต์มาจากแรงบันดาลใจแต่ผู้เขียนเชื่อว่าความสำเร็จของเขาเป็นผลมาจากปัจจัยที่สามนั่นคือ การมีทัศนคติที่ดีต่อสิ่งรอบข้าง
เอดิสันเป็นคนมองโลกในแง่ดี ทุกสิ่งทุกอย่างล้วนแต่ดีในสายตาของเขา ไม่มีอะไรในโลกนี้ ที่เราทุกคนทำไม่ได้ครั้งหนึ่งเขาเคยกล่าวเช่นนั้น แล้วเราจะทึ่งในความสามารถของตัวเองเขาเองยังต้องลองผิดลองถูกนับครั้งไม่ถ้วนกว่าจะค้นพบวัสดุที่เหมาะสมสำหรับประดิษฐ์หลอดไฟฟ้า เขา ไม่เคยมองความผิดพลาดเป็นความล้มเหลว ในการทดลองแต่ละครั้งเขาจะเก็บความผิดพลาดเหล่านั้นมาแก้ไข ซึ่งเราพอจะสรุปความคิดของเขาออกมาเป็นคำพูดได้ดังนี้ความล้มเหลวในชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากการที่เราไม่รู้ว่าตัวเองกำลังเขยิบเข้าใกล้ความสำเร็จแล้วขณะยกธงขาวยอมแพ้
สิ่งหนึ่งที่พิสูจน์ความเป็นคนมองโลกในแง่ดีของเอดิสันอย่างเห็นได้ชัดก็คือ การที่เขาต้องเผชิญกับเหตุการณ์เศร้าสลดในช่วงปลายอายุ 60 ปี กล่าวคือ เขาได้สร้างห้องทดลองที่มีชื่อเสียงที่สุด
ในโลกขึ้นที่เวสต์ ออเร้นจ์ รัฐนิวเจอร์ซี ประกอบไปด้วยตัวอาคาร 14 หลัง ซึ่งสร้างขึ้นภายในบริเวณโรงงานประดิษฐ์ของเขา โดยตัวอาคารหลักมีขนาดใหญ่กว่าสนามฟุตบอล 3 สนามรวมกันเสียอีก โดยเขาและทีมงานใช้เป็นสถานที่ปฏิบัติงานทดลองต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการออกแบบและพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ การผลิตสินค้าก่อนจะนำไปบรรจุ เพื่อส่งต่อให้ลูกค้า จะเห็นได้ว่าห้องทดลองของเขาได้กลายมาเป็น ต้นแบบให้กับการค้นคว้า และการผลิตสินค้าในยุคปัจจุบัน
เอดิสันรักสถานที่แห่งนี้มาก...แต่ทว่าในช่วงเดือนธันวาคม ค.ศ. 1914 สถานที่นี้กลับถูก เพลิงไหม้วอดวาย โดยที่ตัวเขาเองได้แต่ยืนดูสิ่งอันเป็นที่รักกลืนหายไปกับทะเลเพลิง เขาฝืนเก็บ ความทุกข์ระทมเอาไว้ ก่อนจะหันไปพูดกับทีมงานทุกคนว่า เด็ก ๆ กลับไปบอกแม่ของพวกเธอด้วยว่า จะไม่มีไฟไหม้แบบนี้เกิดขึ้นอีกแล้ว
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นทำให้ใครต่อใครหลายคนพากันถอดใจ แต่ไม่ใช่เอดิสัน ผมอายุ 67 แล้ว แต่ก็ไม่แก่เกินไปที่จะเริ่มต้นใหม่ ชีวิตผมผ่านเรื่องทำนองนี้มาเยอะแยะแล้วเขากล่าวขึ้นภายหลังจากเรื่องน่าเศร้าสลดใจได้ผ่านพ้นไป ไม่นานนักเขาก็สร้างห้องทดลองขึ้นมาใหม่ และได้ทำงาน เรื่อยมาอีก 17 ปีผมยังมีไอเดียอีกเพียบ แต่ช่วงเวลาที่อยู่บนโลกนี้นะสิเหลือน้อยเต็มทีเขาบอกผมอยากจะมีอายุยืนถึง 100 ปีจังแต่ทว่าเขาเสียชีวิตลงในวัย 84 ปี
ถ้าเอดิสันไม่ใช่คนที่มองโลกในแง่ดีแล้ว เขาคงไม่มีวันประสบความสำเร็จในฐานะนักประดิษฐ์ผู้ยิ่งใหญ่ ไม่เชื่อคุณลองสังเกตชีวิตของคนที่ประสบความสำเร็จในสายอาชีพต่าง ๆ ดูสิ คุณจะพบว่าพวกเขาส่วนใหญ่ล้วนแล้วแต่มองชีวิตในด้านดีทั้งสิ้น



******************************************************************




จรรยาบรรณวิชาชีพครู
(Code of Ethics of Teaching Profession)
โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์
ความหมาย
จรรยาบรรณวิชาชีพครู คือ กฎแห่งความประพฤติสำหรับสมาชิกวิชาชีพครู ซึ่งองค์กรวิชาชีพครูเป็นผู้กำหนด และสมาชิกในวิชาชีพทุกคนต้องถือปฏิบัติโดยเคร่งครัด หากมีการละเมิดจะมีการลงโทษ
ความสำคัญ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู มีความสำคัญต่อวิชาชีพครูเช่นเดียวกับที่จรรยาบรรณวิชาชีพ มีความสำคัญต่อวิชาชีพอื่น ๆ ซึ่งสรุปได้ ๓ ประการ คือ

๑. ปกป้องการปฏิบัติงานของสมาชิกในวิชาชีพ

๒. รักษามาตรฐานวิชาชีพ

๓. พัฒนาวิชาชีพ
ลักษณะของจรรยาบรรณวิชาชีพครู
จรรยาบรรณวิชาชีพครู จะต้องมีลักษณะ ๔ ประการ คือ

๑. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพันต่อผู้เรียน (Commitment to the student)

๒. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสังคม (Commitment to the society)

๓. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพันต่อวิชาชีพ (Commitment to the profession)

๔. เป็นคำมั่นสัญญาหรือพันธะผูกพันต่อสถานปฏิบัติงาน (Commitment to the employment practice)

แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณครู พ.ศ. 2539
1.
ครูต้องรักและเมตตาศิษย์ โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษย์โดยเสมอหน้า
2.
ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรู้ ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษย์ อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3.
ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษย์ทั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
4.
ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณ์ และสังคมของศิษย์
5.
ครูต้องไม่แสดดงหาประโยชน์อันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษย์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษย์กระทำการใดๆ อันเป็นการหาประโยชน์ให้แก่ตนโดยมิชอบ
6.
ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ
7.
ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพครู
8.
ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรค์
9.
ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษ์และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย

จรรยาบรรณข้อทีE1 ครูต้องรักและเมตตาศิษยE โดยให้ความเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษยEดยเสมอหน้า
หลักการ
การแสดงออกของบุคคลในทางที่ดีเป็นผลมาจากสภาวะจิตใจที่ดีงาม และความเชื่อถือที่ถูกต้องของบุคคล บุคคลที่มีความรักและเมตตาย่อมแสดงออกด้วยความปรารถนาในอันที่จะก่อให้เกิดผลดีต่อบุคคลอื่น มีความสุภาพ ไตร่ตรองถึงผลแล้วจึงแสดงออกอย่างจริงใจ ครูจึงต้องมีความรักและเมตตาต่อศิษยEยู่เสมอ ซึ่งจะเป็นผลให้พฤติกรรมที่ครูแสดงออกต่อศิษยE เป็นไปในทางสุภาพ เอื้ออาทร ส่งผลดีต่อศิษยEนทุกEด้าน
คำอธิบาย
ครูต้องรักและช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจในการศึกษาเอาใจใส่ช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กำลังใจในการศึกษาเล่าเรียนแก่ศิษยEดยเสมอหน้า หมายถึง การตอบสนองต่อความต้องการ ความถนัด ความสนใจของศิษยEย่างจริงใจ สอดคล้องกับการเคารพ การยอมรับ การเห็นอกเห็นใจ ต่อสิทธิพื้นฐานของศิษยEนเป็นที่ไว้วางใจเชื่อถือและชื่นชมไดE รวมทั้งเป็นผลไปสู่การพัฒนารอบด้านอย่างเท่าเทียมกัน
พฤติกรรมสำคัญ
1.
สร้างความรู้สึกเป็นมิตร เป็นที่พึ่งพาและไว้วางใจได้ของศิษยE แต่ละคนและทุกคน ตัวอย่างเช่น
1)
ให้ความเป็นกันเองกับศิษยEbr> 2) รับฟังปัญหาของศิษยEละให้ความช่วยเหลือศิษยEbr> 3) ร่วมทำกิจกรรมกับศิษยEป็นครั้งคราวตามความเหมาะสม
4)
สนทนาไต่ถามทุกขEุขของศิษยEbr> ฯลฯ
2.
ตอบสนองข้อเสนอและการกระทำของศิษยEนทางสร้างสรรคE ตามสภาพปัญหาความต้องการและศักยภาพของศิษยEต่ละคนและทุกคน ตัวอย่างเช่น
1)
สนใจคำถามและคำตอบของศิษยEุกคน
2)
ให้โอกาสศิษยEต่ละคนได้แสดงออกตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจ
3)
ช่วยแก้ไขข้อบกพร่องของศิษยEbr> 4) รับการนัดหมายของศิษยEกี่ยวกับการเรียนรู้ก่อนงานอื่นEbr> ฯลฯ
3.
เสนอและแนะแนวทางการพัฒนาของศิษยEต่ละคนและทุกคนตามความถนัด ความสนใจ และศักยภาพของศิษยE ตัวอย่างเช่น
1)
มอบหมายงานตามความถนัด
2)
จัดกิจกรรมหลากหลายตามสภาพความแตกต่างของศิษยEพื่อให้แต่ละคนประสบความสำเร็จเป็นระยะE อยู่เสมอ
3)
แนะแนวทางที่ถูกให้แก่ศิษยEbr> 4) ปรึกษาหารือกับครู ผู้ปกครอง เพื่อนนักเรียน เพื่อหาสาเหตุและวิธีแก้ปัญหาของศิษยEbr> ฯลฯ
4.
แสดงผลงานที่ภูมิใจของศิษยEต่ละคน และทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา ตัวอย่างเช่น
1)
ตรวจผลงานของศิษยEย่างสม่ำเสมอ
2)
แสดงผลงานของศิษยEนห้องเรียน (ห้องปฏิบัติการ)
3)
ประกาศหรือเผยแพร่ผลงานของศิษยEี่ประสบความสำเร็จ
ฯลฯ

จรรยาบรรณข้อทีE2 ครูต้องอบรม สั่งสอน ฝึกฝน สร้างเสริมความรูE ทักษะและนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้แก่ศิษยE อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิE
หลักการ
ครูที่ดีต้องมีความมุ่งมั่นในการพัฒนาศิษยEห้เจริญได้อย่างเต็มศักยภาพ และถือว่าความรับผิดชอบของตนจะสมบูรณE็ต่อเมื่อศิษยEด้แสดงออกซึ่งผลแห่งการพัฒนานั้นแล้ว ครูจึงต้องเรียนรู้เกี่ยวกับศักยภาพของศิษยEต่ละคนและทุกคน เลือกกิจกรรมการเรียนที่หลากหลาย เหมาะสมสอดคล้องกับการพัฒนาตามศักยภาพนั้นE ดำเนินการให้ศิษยEด้ลงมือทำกิจกรรมการเรียน จนเกิดผลอย่างแจ้งชัด และยังกระตุ้นยั่วยุให้ศิษยEุกคนได้ทำกิจกรรมต่อเนื่องเพื่อความเจริญงอกงามอย่างไม่มีที่สิ้นสุด
คำอธิบาย
ครูต้องอบรมสั่งสอนฝึกฝนสร้างเสริมความรู้ทักษะ และนิสัยที่ถูกต้องดีงามให้เกิดแก่ศิษยEย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิE หมายถึงการดำเนินงานตั้งแต่การเลือกกำหนดกิจกรรมการเรียนที่มุ่งผลต่อการพัฒนาในตัวศิษยEย่างแท้จริง การจัดให้ศิษยEีความรับผิดชอบ และเป็นเจ้าของการเรียนรูE ตลอดจนการประเมินร่วมกับศิษยE ในผลของการเรียนและการเพิ่มพูนการเรียนรู้ภายหลังบทเรียนต่างE ด้วยความปรารถนาที่จะให้ศิษยEต่ละคนและทุกคนพัฒนาได้อย่างเต็มศักยภาพและตลอดไป
พฤติกรรมสำคัญ
1.
อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศิษยEย่างมุ่งมั่นและตั้งใจ ตัวอย่างเช่น
1)
สอนเต็มเวลา ไม่เบียดบังเวลาของศิษยEปหาผลประโยชนE่วนตน
2)
เอาใจใสEอบรม สั่งสอนศิษยEนเกิดทักษะในการปฏิบัติงาน
3)
อุทิศเวลาเพื่อพัฒนาศิษยEามความจำเป็นและเมหาะสม
4)
ไม่ละทิ้งชั้นเรียนหรือขาดการสอน
ฯลฯ
2.
อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศิษยEย่างเต็มศักยภาพ ตัวอย่างเช่น
1)
เลือกใช้วิธีการที่หลากหลายในการสอนให้เหมาะสมกับสภาพของศิษยEbr> 2) ให้ความรู้โดยไม่ปิดบัง
3)
สอนเต็มความสามารถ
4)
เปิดโอกาสให้ศิษยEด้ฝึกปฏิบัติอย่างเต็มความสามารถ
5)
สอนเต็มความสามารถและด้วยความเต็มใจ
6)
กำหนดเป้าหมายที่ท้าทาย พัฒนาขึ้น
7)
ลงมือจัด เลือกกิจกรรมที่นำสู่ผลจริงEbr> http://www.212cafe.com/freewebboard/image/icon_cool.gifประเมิน ปรับปรุง ให้ได้ผลจริง
9)
ภูมิใจเมื่อศิษยEัฒนา
ฯลฯ
3.
อบรม สั่งสอน ฝึกฝนและจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาศิษยE้วยความบริสุทธิE ตัวอย่างเช่น
1)
สั่งสอนศิษยEดยไม่บิดเบือนหรือปิดบัง อำพราง
2)
อบรมสั่งสอนศิษยEดยไม่เลือกที่รักมักที่ชัง
3)
มอบหมายงานและตราวจผลงานด้วยความยุติธรรม
ฯลฯ

จรรยาบรรณข้อทีE3 ครูต้องประพฤติ ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ศิษยEั้งทางกาย วาจา และจิตใจ
หลักการ
การเรียนรู้ในด้านค่านิยามและจริยธรรมจำเป็นต้องมีตัวแบบที่ดี เพื่อให้ผู้เรียนยึดถือและนำไปปฎิบัติตาม ครูที่ดีจึงถ่ายทอดค่านิยมและจริยธรรมด้วยการแสดงตนเป็นตัวอย่างเสมอ การแสดงตนเป็นตัวอย่างนี้ถือว่าครูเป็นผู้นำในการพัฒนาศิษยEย่างแท้จริง
คำอธิบาย
การประพฤติปฎิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี หมายถึง การแสดงออกอย่างสม่ำเสมอของครูที่ศิษยEามารถสังเกตรับรู้ได้เอง และเป็นการแสดงที่เป็นไปตามมาตรฐานแห่งพฤติกรรมระดับสูงตามค่านิยม คุณธรรม และวัฒนธรรมอันดีงาม
พฤติกรรมสำคัญ
1.
ตระหนักว่าพฤติกรรมการแสดงออกของครูมีผลต่อการพัฒนาพฤติกรรมของศิษยEยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น
1)
ระมัดระวังในการกระทำ และการพูดของตนเองอยู่เสมอ
2)
ไม่โกรธง่ายหรือแสดงอารมณEุนเฉียวต่อหน้าศิษยEองโลกในแง่ดี
ฯลฯ
2.
พูดจาสุภาพและสร้างสรรคEดยคำนึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นกับศิษยEละสังคม ตัวอย่างเช่น
1)
ไม่พูดคำหยาบหรือก้าวร้าว
2)
ไม่นินทาหรือพูดจาส่อเสียด
3)
พูดชมเชยให้กำลังใจศิษยE้วยความจริงใจ
ฯลฯ
3.
กระทำตนเป็นแบบอย่างที่ดี สอดคล้องกับคำสอนของตน และวัฒนธรรมประเพณีอันดีงาม ตัวอย่างเช่น
1)
ปฏิบัติตนให้มีสุขภาพ และบุคลิกภาพที่ดีอยู่เสมอ
2)
แต่งกายสะอาดสุภาพเรียบร้อยเหมาะสมกับกาลเทศะ
3)
แสดงกริยามารยาทสุภาพเรียบร้อยอยู่เสมอ
4)
ตรงต่อเวลา
5)
แสดงออกซึ่งนิสัยที่ดีในการประหยัด ซื่อสัตยEอดทน
6)
สามัคคี มีวินัย
7)
รักษาสาธารณสมบัติและสิ่งแวดล้อม
ฯลฯ

จรรยาบรรณข้อทีE4 ครูต้องไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษE่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณE และสังคมของศิษยE/h3>
หลักการ
การแสดงออกของครูใดE ก็ตามย่อมมีผลในทางบวกหรือลบ ต่อความเจริญเติบโตของศิษยE เมื่อครูเป็นผู้รับผิดชอบโดยตรงต่อการพัฒนาทุกE ด้านของศิษยE จึงต้องพิจารณาเลือกแสดงแต่เฉพาะการแสดงที่มีผลทางบวก พึงระงับและละเว้นการแสดงใดE ที่นำไปสู่การชลอหรือขัดขวางความก้าวหน้าของศิษยEุกE ด้าน
คำอธิบาย
การไม่กระทำตนเป็นปฏิปักษE่อความเจริญทางกาย สติปัญญา จิตใจ อารมณE และสังคมของศิษยEหมายถึง การตอบสนองต่อศิษยEนการลงโทษหรือให้รางวัลหรือการกระทำอื่นใดที่นำไปสู่การลดพฤติกรรมที่พึงปรารถนา และการเพิ่มพฤติกรรมที่ไม่พึงปรารถนา
พฤติกรรมสำคัญ
1.
ละเว้นการกระทำที่ทำให้ศิษยEกิดความกระทบกระเทือนต่อจิตใจ สติปัญญา อารมณEละสังคมของศิษยE ตัวอย่างเช่น
1)
ไม่นำปมด้อยของศิษยEาล้อเลียน
2)
ไม่ประจานศิษยEbr> 3) ไม่พูดจาหรือกระทำการใดE ที่เป็นการซ้ำเติมปัญหาหรือข้อบกพร่องของศิษยEbr> 4) ไม่นำความเครียดมาระบายต่อศิษยE ไม่ว่าจะด้วยคำพูด หรือสีหน้า ท่าทาง
5)
ไม่เปรียบเทียบฐานะความเป็นอยู่ของศิษยEbr> 6) ไม่ลงโทษศิษยEกินกว่าเหตุ
ฯลฯ
2.
ละเว้นการกระทำที่เป็นอันตราต่อสุขภาพและร่างกายของศิษยE ตัวอย่างเช่น
1)
ไม่ทำร้ายร่างกายศิษยEbr> 2) ไม่ลงโทษศิษยEกินกว่าระเบียบกำหนด
3)
ไม่จัดหรือปล่อยปละละเลยให้สภาพแวดล้อมเป็นอันตรายต่อศิษยEbr> 4) ไม่ใช่ศิษยEำงานเกินกำลังความสามารถ
ฯลฯ
3.
ละเว้นการกระทำที่สกัดกั้นพัฒนาการทางสติปัญญา อารมณEจิตใจ และสังคมของศิษยE ตัวอย่างเช่น
1)
ไม่ตัดสินคำตอบถูกผิดโดยยึดคำตอบของครู
2)
ไม่ดุด่าซ้ำเติมศิษยEี่เรียนช้า
3)
ไม่ขัดขวางโอกาศให้ศิษยEด้แสดงออกทางสร้างสรรคEbr> 4) ไม่ตั้งฉายาในทางลบให้แก่ศิษยE/p>

จรรยาบรรณข้อทีE5 ครูต้องไม่แสดดงหาประโยชนEันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษยEนการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษยEระทำการใดE อันเป็นการหาประโยชนEห้แก่ตนโดยมิชอบ
หลักการ
การใช้ตำแหน่งหน้าที่ในวิชาชีพแสวงหาประโยชนEนโดยมิชอบ ย่อมทำให้เกิดความลำเอียงในการปฏิบัติหน้าทีE สร้างความไม่เสมอภาคนำไปสู่ความเสื่อมศรัทธาในบุคคลและวิชาชีพนั้น ดังนั้น ครูจึงต้องไม่แสวงหาประโยชนEันมิควรได้จากศิษยE หรือใช้ศิษยEห้ไปแสวงหาประโยชนEห้แก่คนโดยมิชอบ
คำอธิบาย
การไม่แสวงหาประโยชนEันเป็นอามิสสินจ้างจากศิษยE ในการปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ และไม่ใช้ศิษยEระทำการใดE อันเป็นการหาประโยชนEห้แก่ตนโดยมิชอบ หมายถึง การไม่กระทำการใดE ที่จะได้มาซึ่งผลตอบแทนเกินสิทธิที่พึงได้จากการปฏิบัติหน้าที่ในความรับผิดชอบตามปกติ
พฤติกรรมสำคัญ
1.
ไม่รับหรือแสวงหาอามิสสินจ้างหรือผลประโยชนEันมิควรจากศิษยE ตัวอย่างเช่น
1)
ไม่หารายได้จากการนำสินค้ามาขายให้ศิษยEbr> 2) ไม่ตัดสินผลงานหรือผลการเรียน โดยมีสิ่งแลกเปลี่ยน
3)
ไม่บังคับหรือสร้างเงื่อนไขให้ศิษยEาเรียนพิเศษเพื่อหารายไดEbr> ฯลฯ
2.
ไม่ใช้ศิษยEป็นเครื่องมือหาประโยชนEห้กับตนโดยมิชอบด้วยกฎหมาย ขนบธรรมเนียมประเพณีหรือความรู้สึกของสังคม ตัวอย่างเช่น
1)
ไม่นำผลงานของศิษยEปแสวงหากำไรส่วนตน
2)
ไม่ใช้แรงงานศิษยEพื่อประโยชนE่วนตน
3)
ไม่ใช้หรือจ้างวานศิษยEปทำสิ่งผิดกฎหมาย
ฯลฯ

จรรยาบรรณข้อทีE6 ครูย่อมพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพและวิสัยทัศนE ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิชาการ เศรษฐกิจ สังคมและการเมืองอยู่เสมอ
หลักการ
สังคมและวิทยาการมีการพัฒนาและเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ดังนั้น ครูในฐานะผู้พัฒนาทรัพยากรมนุษยE จึงต้องพัฒนาตนเองให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและแนวโน้มที่จะเปลี่ยนแปลงในอนาคต
คำอธิบาย
การพัฒนาตนเองทั้งในด้านวิชาชีพ ด้านบุคลิกภาพ และวิสัยทัศนE ให้ทันต่อการพัฒนาทางวิทยาการ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง อยู่เสมอ หมายถึง การใฝ่รูE ศึกษาค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรคEวามร้ใหม่ให้ทันสมัย ทันเหตุการณE และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และเทคโนโลยี สามารถพัฒนาบุคลิกภาพและวิสัยทัศนE/p>
พฤติกรรมสำคัญ
1.
ใส่ใจศึกษาค้นคว้า ริเริ่มสร้างสรรคEวามรู้ใหม่ที่เกี่ยวกับวิชาชีพอยู่เสมอ ตัวอย่างเช่น
1)
หาความรู้จากเอกสาร ตำรา และสื่อต่างEอยู่เสมอ
2)
จัดทำและเผยแพร่ความรู้ผ่านสื่อต่างE ตามโอกาส
3)
เข้าร่วมประชุม อบรม สัมมนา หรือฟังการบรรยาย หรืออภิปรายทางวิชาการ
ฯลฯ
2.
มีความรอบรูEทันสมัย ทันเหตุการณE สามารถนำมาวิเคราะหE กำหนดเป้าหมาย แนวทางพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การอาชีพ และเทคโนโลยี ตัวอย่างเช่น
1)
นำเทคโนโลยีที่เหมาะสมมาใช้ประกอบการเรียนการสอน
2)
ติดตามข่าวสารเหตุการณE้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การเมืองอยู่เสมอ
3)
วางแผนพัฒนาตนเองและพัฒนางาน
ฯลฯ
3.
แสดงออกทางร่างกาย กริยา วาจา อย่างสง่างาม เหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวอย่างเช่น
1)
รักษาสุขภาพและปรับปรุงบุคลิกภาพอยู่เสมอ
2)
มีความเชื่อมั่นในตนเอง
3)
แต่งกายสะอาดเหมาะสมกับกาลเทศะและทันสมัย
4)
มีความกระตือรือร้น ไวต่อความรู้สึกของสังคม
ฯลฯ

จรรยาบรรณข้อทีE7 ครูย่อมรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององคEรวิชาชีพครู
หลักการ
ความรักและเชื่อมั่นในอาชีพของตนย่อมทำให้ทำงานอย่างมีความสุขและมุ่งมั่น อันจะส่งผลให้อาชีพนั้นเจริญรุ่งเรืองและมั่นคง ดังนั้นครูย่อมรักและศรัทธาในอาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององคEรวิชาชีพครูด้วยความเต็มใจ
คำอธิบาย
ความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู และเป็นสมาชิกที่ดีขององคEรวิชาชีพครู หมายถึง การแสดงออกด้วยความชื่นชมและเชื่อมั่นในอาชีพครูด้วยตระหนักว่าอาชีพนี้เป็นอาชีพที่มีเกียรติ มีความสำคัญและจำเป็นต่อสังคม ครูพึงปฏิบัติงานด้วยความเต็มใจและภูมิใจ รวมทั้งปกป้องเกรียติภูมิของอาชีพครู เข้าร่วมกิจกรรมและสนับสนุนองคEรวิชาชีพครู
พฤติกรรมสำคัญ
1.
เชื่อมั่น ชื่นชม ภูมิใจในความเป็นครูและองคEรวิชาชีพครู ว่ามีความสำคัญและจำเป็นต่อสังคม ตัวอย่างเช่น
1)
ชื่นชมในเกียรติและรางวัลที่ได้รับและรักษาไว้อย่างเสมอต้นเสมอปลาย
2)
ยกย่องชมเชยเพื่อนครูที่ประสบผลสำเร็จเกี่ยวกับการสอน
3)
เผยแพร่ผลสำเร็จของตนเองและเพื่อนครู
4)
แสดงตนว่าเป็นครูอย่างภาคภูมิ
ฯลฯ
2.
เป็นสมาชิกองคEรวิชาชีพครูและสนับสนุนหรือเข้าร่วมหรือเป็นผู้นำในกิจกรรมพัฒนาวิชาชีพครู ตัวอย่างเช่น
1)
ปฏิบัติตามเงื่อนไขข้อกำหนดขององคE
2)
ร่วมกิจกรรมที่องคEรจัดขึ้น
3)
เป็นกรรมการหรือคณะทำงานขององคE
ฯลฯ
3.
ปกป้องเกียรติภูมิของครูและองคEรวิชาชีพ ตัวอย่างเช่น
1)
เผยแพร่ประชมสัมพันธEลงานของครูและองคEรวิชาชีพครู
2)
เมื่อมีผู้เข้าใจผิดเกี่ยวกับวงการวิชาชีพครูก็ชี้แจงทำความเข้าใจให้ถูกต้อง
ฯลฯ

จรรยาบรรณข้อทีE8 ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรคE/h3>
หลักการ
สมาชิกของสังคมใดพึงผนึกกำลังกันพัฒนาสังคมนั้นและเกื้อกูลสังคมรอบข้าง ในวงวิชาชีพครู ผู้ประกอบอาชีพครูพึงร่วมมือและช่วยเหลือเกื้อกูลกันด้วยความเต็มใจ อันจะยังผลให้เกิดพลังและศักยภาพในการพัฒนาวิชาชีพครู และการพัฒนาสังคม
คำอธิบาย
การช่วยเหลือเกื้อกูลครูและชุมชนในทางสร้างสรรคE หมายถึง การให้ความร่วมมือ แนะนำปรึกษาช่วยเหลือแก่เพื่อนครูทั้งเรื่องส่วนตัว ครอบครัว และการงานตามโอกาสอย่างเหมาะสม รวมทั้งเข้าร่วมกิจกรรมของชุมชน โดยการให้คำปรึกษาแนะนำแนวทางวิธีการปฏิบัติตน ปฏิบัติงาน เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
พฤติกรรมสำคัญ
1.
ให้ความร่วมมือแนะนำ ปรึกษาแก่เพื่อนครูตามโอกาสและความเหมาะสม ตัวอย่างเช่น
1)
ให้คำปรึกษาการจัดทำผลงานทางวิชาการ
2)
ให้คำแนะนำการผลิตสื่อการเรียนการสอน
ฯลฯ
2.
ให้ความช่วยเหลือด้านทุนทรัพยE สิ่งของแด่เพื่อนครูตามโอกาสและความเหมาะสม ตัวอย่างเช่น
1)
ร่วมงานกุศล
2)
ช่วยทรัพยEมื่อเพื่อนครูเดือนร้อน
3)
จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ฯลฯ
3.
เข้าร่วมกิจกรรมของชุมชนรวมทั้งให้คำปรึกษาแนะนำแนวทางวิธีการปฏิบัติตน ปฏิบัติงานเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน ตัวอย่างเช่น
1)
แนะแนวทางการป้องกัน และกำจัดมลพิษ
2)
ร่วมกิจกรรมตามประเพณีของชุมชน
ฯลฯ

จรรยาบรรณข้อทีE9 ครูพึงประพฤติ ปฏิบัติตน เป็นผู้นำในการอนุรักษEละพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
หลักการ
หน้าที่สำคัญประการหนึ่งของการศึกษาคือ การพัฒนาคนให้มีภูมิปัญญา และรู้จักเลือกวิถีการดำเนินชีวิตที่ดีงาม ในฐานะที่ครูเป็นบุคลากรสำคัญทางการศึกษา ครูจึงควรเป็นผู้นำในการอนุรักษEละพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย
คำอธิบาย
การเป็นผู้นำในการอนุรักษE และพัฒนาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย หมายถึง การริเริ่มดำเนินกิจกรรม สนับสนุนส่งเสริมภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทย โดยรวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะหEลือกสรร ปฏิบัติตนและเผยแพร่ศิลปะ ประเพณี ดนตรี กีฬา การละเล่น อาหาร เครื่องแต่งกาย ฯลฯ เพื่อใช้ในการเรียนการสอน การดำรงชีวิตตนและสังคม
พฤติกรรมสำคัญ
1.
รวบรวมข้อมูลและเลือกสรรภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรมที่เหมาะสมมาใช้จัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตัวอย่างเช่น
1)
เชิญบุคคลในท้องถิ่นมาเป็นวิทยากร
2)
นำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้จัดการเรียนการสอน
3)
นำศิษยEปศึกษาในแหล่งวิทยาการชุมชน
ฯลฯ
2.
เป็นผู้นำในการวางแผน และดำเนินการเพื่ออนุรักษEละพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่นและวัฒนธรรม ตัวอย่างเช่น
1)
ฝึกการละเล่นท้องถิ่นให้แก่ศิษยEbr> 2) จัดตั้งชมรม สนใจศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น
3)
จัดทำพิพิธภัณฑEนสถานศึกษา
ฯลฯ
3.
สนับสนุนส่งเสริมเผยแพร่และร่วมกิจกรรมทางประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนอย่างสม่ำเสมอ ตัวอย่างเช่น
1)
รณรงคEารใช้สินค้าพื้นเมือง
2)
เผยแพร่การแสดงศิลปะพื้นบ้าน
3)
ร่วมงานประเพณีของท้องถิ่น
ฯลฯ
4.
ศึกษาวิเคราะหE วิจัยภูมิปัญญาและวัฒนธรรมท้องถิ่นเพื่อนำผลมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ตัวอย่างเช่น
1)
ศึกษาวิเคราะหEกี่ยวกับการละเล่นพื้นบ้าน นิทานพื้นบ้าน เพลงกล่อมเด็ก ตำนานและความเชื่อถือ
2)
นำผลการศึกษาวิเคราะหEาใช้ในการเรียนการสอน
ฯลฯ